ชั้น
|
ตัวชี้วัด
|
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
|
ม.๓
|
๒. ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร ที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิตประจำวันและ
ในการแสดง
|
- ภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์
- ภาษาท่าที่มาจากธรรมชาติ
- ภาษาท่าที่มาจากการประดิษฐ์
- รำวงมาตรฐาน
|
๓. มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง
|
- การแสดงเป็นหมู่
- การแสดงเดี่ยว
- การแสดงละคร
- การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
|
๔. มีทักษะในการแปลความและ การสื่อสารผ่านการแสดง
|
- การประดิษฐ์ท่ารำและท่าทางประกอบ การแสดง
- ความหมาย
- ความเป็นมา
- ท่าทางที่ใช้ในการประดิษฐ์ท่ารำ
|
๕. วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้ เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์
|
- จังหวะทำนอง
- การเคลื่อนไหว
- อารมณ์และความรู้สึก
- ภาษาท่า นาฎยศัพท์
- รูปแบบของการแสดง
- การแต่งกาย
|
๖. ร่วมจัดงานการแสดงในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ
|
- ประเภทของงาน
- ขั้นตอน
- ประโยชน์และคุณค่าของการแสดง
|
๗. นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ ในชีวิตประจำวัน
|
· ละครกับชีวิต
|